|
|
|
ประชากรในเขต ร้อยละ 90 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าวนาปี |
|
|
|
|
|
|
|

 |
ตำบลห้วยถั่วเหนือโดยทั่วไปมีสภาพพื้นที่ส่วนใหญ่ เป็นที่ราบลุ่ม
ดินเหนียว เหมาะแก่การเพาะปลูกพืชทางการเกษตร มี
แหล่งน้ำธรรมชาติที่เป็นลำคลองสายหลัก 3 สาย ประกอบด้วย |
|

 |
คลองห้วยใหญ่ซึ่งไหลผ่านหมู่บ้านกระดานหน้าแกล |
|

 |
คลองห้วยถั่วเหนือซึ่งไหลผ่านหมู่บ้านห้วยถั่วเหนือ หมู่บ้านห้วยถั่วกลางและหมู่บ้านโคกมะกอก |
|

 |
คลองห้วยปลาเน่าซึ่งไหลผ่านหมู่บ้านรังย้อยและหมู่บ้าน
ห้วยวารีเหนือและอีกคลองหนึ่ง คือ คลองร่องหอยซึ่งไหล
มารวมกับคลองห้วยปลาเน่าที่หมู่บ้านรังย้อยแล้วไหลสู่ หมู่บ้านห้วยวารี |
|
|
|
|
|
ตำบลห้วยถั่วเหนือ อำเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค์ มีลักษณะร้อนชื้น มีช่วงฤดูฝนและฤดูแล้งที่เห็นเด่นชัด ฤดูฝนได้รับ
อิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้อยู่ในช่วงเดือนตุลาคม ส่วนฤดูหนาวอยู่ในช่วงเดือนตุลาคมถึงมกราคมได้รับอิทธิพล
ความเย็นมาจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ |
|
|
|
|
|
|

 |
ประชาชนนับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 98 ในตำบลห้วยถั่วเหนือมีวัด จำนวน 6 แห่ง |

 |
ประชาชนนับถือศาสนาคริตส์ ร้อยละ 2 |
|
|
|
ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม |
|
|
 |
|
|
|
|
|

 |
ประเพณีวันขึ้นปีใหม่ ประมาณเดือน มกราคม |
|

 |
ประเพณีทำบุญกลางบ้าน ประมาณเดือน พฤษภาคม |
|

 |
ประเพณีกวนข้าวทิพย์ ประมาณเดือน กรกฎาคม |
|

 |
ประเพณีวันสงกรานต์ ประมาณเดือน เมษายน |
|

 |
ประเพณีลอยกระทง ประมาณเดือน ตุลาคม พฤศจิกายน |
|

 |
ประเพณีวันเข้าพรรษา ออกพรรษา ประมาณเดือน กรกฎาคม ตุลาคม พฤศจิกายน |
|
|
|

 |
ภูมิปัญญาท้องถิ่น |
|
|

 |
ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลห้วยถั่วเหนือได้อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ วิธีการทำเครื่อง
จักสารใช้สำหรับในครัวเรือน ทำไม้กวาดจากดอกหญ้า และวิธีการจับปลาธรรมชาติ เป็นต้น |
|

 |
ภาษาถิ่น |
|
|

 |
ส่วนมากร้อยละ 90% พูดภาษาท้องถิ่น |
|
|
|
|
|
|

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียน จำนวน 1 แห่ง ดังนี้ |
|

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กตำบลห้วยถั่วเหนือ (อบต.จัดตั้งเอง) |

 |
โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 2 แห่ง ดังนี้ |
|

 |
โรงเรียนบ้านเทพสถาพร ตั้งอยู่ หมู่ที่ 2 สังกัดสำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน |
|

 |
โรงเรียนชุมชนบ้านกระดานหน้าแกล ตั้งอยู่ หมู่ที่ 3 เป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา |
|
|
|
|
|
|
|

 |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 2 จำนวน 1 แห่ง |

 |
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100 |
|
|
|
|
|
|

 |
อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) |
|
|
|
|
|
เส้นทางคมนาคมที่สำคัญ คือ ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 225 (ชุมแสง-หนองบัว) ซึ่งผ่านพื้นที่ตำบลทาง
ตอนกลางในแนวตะวันออก – ตะวันตก ผ่านพื้นที่หมู่ 1 , 2 ,3 ,7 เป็นเส้นทางหลักเชื่อมการคมนาคมภายในตำบล และ ระหว่าง
ตำบล นอกจากนั้นยังมีถนนลูกรังเชื่อมการคมนาคมในตำบลมีถนน คสล. 2 สาย และถนนดินเทลูกรัง 16 สายและถนนลาดยาง
1 สาย |
|
|
|
|
|
|

 |
ปัจจุบันมีไฟฟ้าใช้ทุกครัวเรือน คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์ |
|
|
|
|
|